preview

Economic Data

Better Essays

MPA 9 / วิชา รศ. 630 (วิชาที่ 8) คำบรรยายวันเสาร์ ที่ 17 พฤศจิกายน 2550 เวลา 08:30-17:30 น. โดย รศ. ดร. พลภัทร บุราคม บันทึกโดย วิมล ยงพานิชกุล การบริหารการเงินและการคลัง (Financial and Fiscal Management) สวัสดีนะครับ ....ไม่ได้เจอซะนาน เรียนถึงไหนก็ไม่รู้...อ้าว...แล้ววันนี้นู๋จะรู้อะไรไม๊เนี่ย....ทบทวนกันก่อนดีกว่า ...เพราะว่า case study วันนี้จะต่อเนื่องถึงครั้งที่แล้วด้วย 1. ความหมายของนโยบายการเงินการคลัง 2. Eco. Growth (การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ) – Business Cycle 3. Keynesian Theory – Demand Side Policy 4. Monetarist Theory – Supply Side Policy 5. Eco. Equity – Progressive Tax (เราเก็บเงินจากคนจนมาก แต่เก็บจากคนรวยได้น้อยกว่า.... เซ็งว่ะ) – Welfare Spending …show more content…

ตย. ถ้าสมมติประเทศไทยขาดดุล....(ค่าเงินอ่อนค่า) เพราะฉนั้นค่าเงินก็จะไม่อยู่ที่ 25 บาท = 1 US$ ...ถ้าไม่อยากให้ค่าเงินอ่อนเราต้องขายดอลล่าร์ออกไป และซื้อเงินบาทเข้ามาเก็บไว้....กองทุนนี้ก็จะขายเงินดอลล่าร์และซื้อเงินบาทเข้ามาเก็บเพื่อไม่ให้ค่าเงินบาท แตะ 30-40 US$ ....ในทางตรงกันข้ามหากเกินดุล เราก็ต้องซื้อดอลล่าร์เข้ามาเก็บและขายเงินบาทออกไป...เหมือนเช่นปัจจุบัน...แบงก์ชาติจึงแทรกแซงโดยการขายเงินบาทและซื้อเงินดอลล่าร์มาเก็บ เราขาดทุนไหมครับ....ขาดทุนไป 2,000 กว่าล้านแล้ว เพราะค่าเงินดอลล่าร์อ่อน...เงินใคร..ก็เงินพวกเรานั่นแหละ...เพื่อ support ผู้ส่งออกจึงต้องทำอย่างนี้...เพราะฉนั้นการแทรกแซงมี cost นะครับ...ไม่มีอะไรฟรี...ทุนสำรองหายไปเยอะแล้ว...ผลเสียจึงตกกับพวกเรา..... เหมาะกับประเทศที่ไม่ค่อยเปิดการค้ามากนัก มีการค้ากับต่างประเทศน้อย การขาดดุล-เกินดุล จะมีสัดส่วนน้อย...และแทบจะไม่ทำให้ค่าเงินเปลี่ยน ...ค่าเงินจึง fixed โดยธรรมชาติอยู่แล้ว เช่น ไทยในสมัยก่อนปี 2530 ...เราเพิ่งมาเปิดเสรีทางการค้ามากขึ้นในช่วงหลังนี่เอง.....ตย. ประเทศที่ใช้ระบบ fixed คือ พม่า ลาว เขมร เวียดนาม จีน ปากีสถาน ศรีลังกา ...อินเดีย ... ข้อดี 1. ค่าเงินมีเสถียรภาพสูง....ไม่เปลี่ยนแปลง

Get Access